การแบ่งลักษณะนิ้วที่ขาดมีหลายแบบ จะยกตัวอย่างที่ใช้กันประจำมา 2 แบบ
        1.  Campbell Reid's classification (1966)
                แบ่งตามระดับของกระดูกที่ขาด โดยใช้ข้อ MCP joint และ thenar muscle เป็นหลัก แบ่งออกเป็น 4 groups
                Group 1 :  Amputation distal to MCP joint, leaving an adequate stump.
                Group 2 :  Amputation of the thumb distal to or through the MCP joint, leaving a stump of inadequate length.
                Group 3 :  Amputation through the metacarpal, with preservation of some functioning thenar muscles.
                Group 4 :  Amputation at or near the carpometacarpal joint, with loss of all thenar muscles.
        2.  Morrison's classification (1984)
                แบ่งคล้าย ๆ กับของ Reid's แต่ Morrison ให้ความสนใจต่อการขาดของปลายนิ้วหัวแม่มือด้วย โดยแบ่งออกเป็น 3 level
 

1.  Soft tissue or segmental loss 
2.  Subtotal loss  กลุ่มนี้ยังมี trapeziometacarpal joint เหลือ และยังมี  thenar muscle function 
          2.1  Distal subtotal (distal to MCP joint) 
          2.2  Proximal subtotal (proximal to MCP joint) 
3.  Total thumb loss 
 
   
| คำนำ | วิธีการแบ่งลักษณะของนิ้วหัวแม่มือที่ขาด | จุดประสงค์ของการผ่าตัดแก้ไข |
| วิธีการผ่าตัด | เทคนิคการผ่าตัด | การเลือกวิธีผ่าตัด | เอกสารอ้างอิง |
| HOME | MD.CU.CAI. | HAND CHULA |