บทนำ
 
             การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดเบื้องต้น จำเป็นต้องอาศัยประวัติการตรวจ ร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น เช่น ภาพรังสีปอด และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อนำมาประกอบเป็นข้อมูล ในการ พิจารณาถึง การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของโลหิต (hemodynamic changes) เพื่อนำมาประกอบ ในการ 
บอกถึงลักษณะของพยาธิสภาพ ของหัวใจ และหลอดเลือด (anatomical lesions) ในการวินิจฉัยที่แน่นอน จำเป็นต้อง 
อาศัยการตรวจพิเศษ เช่น echocardiography, cardiac catheterization และ angiography หรือในบางรายต้องอาศัย การผ่าตัดในการวินิจฉัย
 
 
Home Page I Menu I บทนำ I คำย่อที่ใช้  I แนวทางการวินิจฉัย I หลักการวินิจฉัยแยกโรค I ตัวอย่างผู้ป่วย I บรรณานุกรม