Quality
Control : การควบคุมคุณภาพ
|
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการประกันคุณภาพ
ในส่วน analytical phase เป็นการติดตามดูแลคุณภาพในแง่ความถูกต้องและแม่นยำของผลการตรวจวิเคราะห์
โดยใช้สารควบคุมคุณภาพ
(Control Material) โดยทำการวิเคราะห์คู่ไปกับสารตัวอย่างของผู้ป่วย
|
|
Quality
Control แบ่งเป็น 2 ประเภท |
|
Internal
Quality Control Program (Intralaboratory
quality control) |
1. |
Levey
- Jennings Chart |
|
 |
Acceptable limit = (Target
Range)
|
 |
Precision |
 |
Imprecision |
 |
Long
- Term inaccuracy : Trend ,
Shift  |
|
2. |
Multirule
System |
|
 |
Systemic
error (continuous and affects all results equally) : |
|
2-2
S ,4-1
S ,
10 X |
 |
Random
error (without any real pattern) : |
|
1-3
S ,R-4
S  |
|
|
External
Quality Control Program
(Interlaboratory
quality control) |
1. |
Proficiency
Testing (PT) Programs |
|
ตัวอย่าง PT programs ที่ได้รับการยอมรับตาม CLIA'88 ได้จาก Accutest,
American Proficiency Institute, College of American Pathologists,
Pacific Biometrics Research Foundation, State of New York ที่
Department of Health และ Wisconsin State Laboratory of Hygiene
|
Acceptable
Performance |
: |
ฑ 2
SD |
|
: |
SDI
(Standard deviation index) |
|
: |
Target
value |
|
|
2. |
Regional
Quality Control Programs |
|
เป็นวิธีการร่วมโครงการของห้องปฎิบัติการในแหล่งที่อยู่ใกล้กันเป็นกลุ่ม
โดยใช้สารตัวอย่างจากบริษัทเอกชน หรือสมาคมทางวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
เป็นตัวอย่างเดียวกันวิเคราะห์ทุกวัน ทุกเดือน หรือทุก 3 เดือน โดยส่งผลการวิเคราะห์กลับไปให้หน่วยงานที่ส่งสารตัวอย่างมา
ซึ่งทางหน่วยงานดังกล่าวจะส่งผลการวิเคราะห์กลับมาเป็นค่า mean และ standard
deviation ของห้องปฎิบัติการเราเอง และของห้องปฎิบัติการอื่นๆ ห้องปฎิบัติการของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ร่วมโครงการนี้กับคณะเทคนิคการแพทย์
มหาวิทยาลัยมหิดล และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ การประเมินผลคล้ายๆ กับ
PT programs |
|