2. ยาชนิดรับประทาน
ยารับประทานรักษาเชื้อรามีหลายชนิด
ดูตารางที่ 2 ส่วนใหญ่มีฤทธิ์ fungistatic มีเพียง terbinafine ที่ออกฤทธิ์เป็น
fungicidal drug ส่วนประกอบที่สำคัญของ fungal cell membrane คือ ergosterol
ซึ่งทำให้มี membrane integrity และมีการเจริญเติบโต ส่วน cell wall มี chitin
เป็นส่วนประกอบสำคัญ ยาส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ที่ระดับ cell membrane มีเพียง griseofulvin
และ flucytosine ที่ออกฤทธิ์ที่ nucleus ซึ่งยา 2 ตัวนี้ไม่ได้นำมาใช้สำหรับการติดเชื้อราของผิวหนัง
โรคเชื้อราที่ผิวหนังที่ต้องรักษาโดยยารับประทาน
ได้แก่
1. Tinea capitis | การใช้ยาทาไม่ได้ผลเนื่องจากยาไม่สามารถเข้าไปใน hair follicle ซึ่งมีเชื้ออยู่ | |
2. Tinea ungium | การใช้ยาทาไม่ได้ผลเนื่องจากยาซึมผ่านเล็บได้ไม่ดี | |
3. Tinea corporis | ซึ่งเป็นบริเวณกว้าง การทายาต้องใช้ยาปริมาณมาก |
วิธีการให้ | ให้ยาขนาด 10-15 มก./กก./วัน (1 เม็ด = 125,500 มก.) | ||
T. corporis | ให้นาน 2-6 สัปดาห์ | ||
T. capitis | ให้นาน 2-4 เดือน | ||
T. unguium | ที่เล็บมือ ให้นาน 4-6 เดือน | ||
ส่วนที่เล็บเท้า ให้นาน 6-9 เดือน |
|
ในผู้ใหญ่ (1 แคปซุล = 100 มก.) | ||
Candida vulvovaginitis | 200 มก. | วันละครั้ง 3 วัน หรือ 200 mg. เช้า-เย็น เพียงวันเดียว | |
Pityriasis | 200 มก. | วันละครั้ง 15 วัน | |
Dermatophyte | 100 มก. | วันละครั้ง 15 วัน | |
Onychomycosis | 200 มก. | วันละครั้ง เล็บมือให้นาน 3 เดือน เล็บเท้าให้นาน 6 เดือน | |
ในเด็กผลการศึกษายังน้อยให้ขนาด 3-5 มก./กก./วัน
ผลข้างเคียงของยาคือ อาการคลื่นไส้ อาเจียน |
วิธีใช้ | ในผู้ใหญ่ให้ 250 มก. (1 เม็ด=250 มก.) ระยะเวลาแล้วแต่เป็นที่ใด | ||
T. corporis | 2-4 อาทิตย์ | ||
U. pedis | 2-6 อาทิตย์ | ||
Onychomycosis | เล็บมือให้ 6-12 อาทิตย์ | ||
เล็บเท้าให้ 12-24 อาทิตย์ | |||
ในเด็กประสบการณ์ใช้ยายังน้อย ให้ตามน้ำหนัก | |||
< 20 กก. | ให้ 62.5 มก. | ||
20-40 กก. | ให้ 125 มก. | ||
> 40 กก. | ให้ 250 มก. |
กลับหน้าแรก |
![]() |